dc.contributor.author |
รุ่งโรจน์ ปิยะภานุวัตน์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-01-26T09:19:15Z |
|
dc.date.available |
2023-01-26T09:19:15Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://modps76.lib.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/4008 |
|
dc.description |
32 หน้า |
th_TH |
dc.description.abstract |
โครงการวิจัยนี้ทาการศึกษาการการพัฒนาการขึ้นรูปวัสดุเซรามิกที่ไวต่อการทาปฏิกิริยาด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ โดยทาการออกแบบเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ระบบการทางาน รวมถึงการขึ้นรูปที่เหมาะสมกับการใช้วัสดุจีโอพอลิเมอร์และวัสดุซีเมนต์ จากการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ เครื่องพิมพ์ 3 มิติที่เหมาะสมกับการขึ้นรูปของวัสดุจีโอพอลิเมอร์และวัสดุซีเมนต์ คือประเภท Delta เนื่องจากวัสดุจีโอพอลิเมอร์และวัสดุซีเมนต์จาเป็นต้องใช้ระยะเวลาในการก่อตัวประมาณ 3-5 นาที คาสั่งที่ใช้ในการพิมพ์ ใช้เป็นคาสั่ง G-Code ระบบการผสมใช้การผสมภายนอกเครื่องและลาเลียงเข้าสู่ท่อดันตัวอย่าง ปัจจัยที่สาคัญต่อการใช้งานขนาดของ Extrusion Nozzle ความเร็วในการเคลื่อนที่ของ Extrusion Pusher ขนาดอนุภาคของวัสดุที่ใช้ในการพิมพ์ และอัตราส่วนน้าต่อปูนซีเมนต์ ซึ่งต้องมีความสัมพันธ์กันจึงจะสามารถขึ้นรูปวัสดุจีโอพอลิเมอร์และวัสดุซีเมนต์ได้ โดย Extrusion Nozzle ทุกขนาด จะใช้อัตราส่วนน้าต่อวัสดุยึดประสานที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 0.42-0.44 และทาการขึ้นรูปชิ้นงานรูปทรงกระบอก และรูปทรลลูกบาศก์จะมีลักษณะ และขนาดใกล้เคียงกันแบบ ส่วนความละเอียดของวัสดุที่ผสมต้องร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 100 ซึ่งมีขนาดอนุภาคไม่เกิน 0.15 มิลลิเมตร |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สํานักงาน การวิจัยแห่งชาติ (วช.) |
th_TH |
dc.language.iso |
th_TH |
th_TH |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ราชบุรี, 2564 |
th_TH |
dc.subject |
เครื่องพิมพ์ 3 มิติ |
th_TH |
dc.subject |
การขึ้นรูปวัสดุเซรามิก |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาการขึ้นรูปวัสดุเซรามิกที่ไวต่อการทาปฏิกิริยาด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Devlopment of molding the sensitive reaction of ceramic materials using 3D printing |
th_TH |
dc.type |
Research Report |
th_TH |