dc.contributor.author |
อรวรรณ ดวงภักดี |
|
dc.contributor.author |
ปรีชา รอดอิ่ม |
|
dc.date.accessioned |
2022-11-29T09:41:29Z |
|
dc.date.available |
2022-11-29T09:41:29Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://modps76.lib.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/4000 |
|
dc.description |
60 หน้า : ภาพประกอบ |
th_TH |
dc.description.abstract |
ผึ้งมิ้น (Apis florea) เป็นผึ้งชนิดหนึ่งที่ปรับตัวได้ดีในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายของทวีปเอเชีย สร้างรวงรังแบบชั้นเดียวขนาดความกว้างประมาณ 20 - 30 ซม. บนกิ่งก้านของต้นไม้ขนาดเล็ก ไม้พุ่ม จึงพบผึ้งมิ้มในเกือบทุกภาพภูมิประเทศของประเทศไทย ผึ้งมิ้ม Apis florea มีขนาดประชากรเล็ก สามารถเลี้ยงแบบจํากัดเขตพื้นที่แหล่งอาหารได้มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี โรคและศัตรูธรรมชาตินอย ผึ้งมิ้มไม่ค่อยแสดงพฤติกรรมดุร้ายจึงบริหารจัดการได้ง่าย งานวิจัยนี้ต่อยอดจากวิธีการพัฒนาการเลี้ยงผึ้งมิ้มในเชิงเศรษฐกิจ เพื่อผลิตน้ำผึ้งเอกลักษณ์เฉพาะ (unique uniflora honey) จากดอกไม้สมุนไพร 4 ชนิด คือ กุหลาบ มะลิ ดาวกระจาย พวงชมพู โดยพบว่ากุหลาบ ดาวกระจาย และพวงชมพู เป็นพืชอาหารผึ้งที่สามารถนํามาปรับปรุงภูมิทัศน์เพื่อการเลี้ยงผึ้ง และให้เอกลักษณ์ได้ยกเว้นมะลิ ที่ไม่มีอาหารที่ผึ้งเข้าหาในปริมาณมากพอที่จะผลิตน้ำผึ้ง ทั้งนี้ผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาการปรับภูมิทัศน์ด็วยพืชอาหารอื่นๆ เพื่อให้ผลิตน้ำผึ้งได้ตามบริบทของพื้นที่ที่แตกต่าง งานวิจัยพบพืชอาหารผึ้งมิ้ม ในประเทศไทยทั้งหมดเพิ่ม 24 ชนิด จากเดิม 128 ชนิด รวมเป็น 142 ชนิด |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สํานักงาน การวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2558-2559 |
th_TH |
dc.language.iso |
th_TH |
th_TH |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ราชบุรี, 2564 |
th_TH |
dc.subject |
ดอกไม้ |
th_TH |
dc.subject |
สมุนไพร |
th_TH |
dc.subject |
น้ำผึ้ง |
th_TH |
dc.title |
การผลิตน้ำผึ้งเอกลักษณ์เฉพาะจากดอกไม้สมุนไพรและการพัตนาเป็นผลิตภัณฑ์ในเชิงการค้า |
th_TH |
dc.title.alternative |
The Production of Unique Honeys from Herbal Edible Flowers and Development for Commercial Product |
th_TH |
dc.type |
Research Report |
th_TH |