dc.contributor.author |
รศ.ดร.สุวิมล อัศวพิศิษฐ |
|
dc.contributor.author |
ผศ.ดร.รุ่งโรจน์ ปิยะภานุวัตน์ |
|
dc.contributor.author |
ดร.สุธาทิพย์ สินยัง |
|
dc.date.accessioned |
2022-11-29T09:01:52Z |
|
dc.date.available |
2022-11-29T09:01:52Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
https://modps76.lib.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/3998 |
|
dc.description |
242 หน้า : ภาพประกอบ |
th_TH |
dc.description.abstract |
การศึกษาสมบัติทางกายภาพและเคมีของเถ้าชานอ้อยจากแหล่งต่างๆ พบว่ามีค่า LOI ไม่เกินค่ามาตรฐานที่กำหนดโดย ASTM อย่างไรก็ตามข้อด้อยในเรื่องของสีดำ ทำให้การนำมาใช้ประโยชน์ในวัสดุก่อสร้างมีข้อจำกัด สำหรับการนำมาใช้เป็นวัตถุดิบทดแทนในการผลิตปูนซีเมนต์ ค่า LOI และสีดำของเถ้าชานอ้อยไม่ได้เป็นอุปสรรค เมื่อนำเถ้าชานอ้อยมาแทนที่ทรายในคอนกรีต คอนกรีตมวลเบาอบไอน้ำ และทำการเทียบกับมาตรฐาน มอก. 1505-2541 ที่กำหนดกำลังอัดขั้นต่ำของคอนกรีตมวลเบาอบไอนำ เท่ากับ 10 MPa ผลการทดลองพบว่าการแทนที่ทรายด้วยเถ้าชานอ้อย ร้อยละ 10 ใช้อุณหภูมิในการอบไอน้ำ 140 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 ชั่วโมง ให้ค่ากำลังอัดเทียบเท่า ตัวอย่างควบคุม (ไม่มีการแทนที่ทรายด้วยเถ้าชานอ้อย) ที่ต้องใช้อุณภูมิในการอบไอน้ำถึง 180 องศา เซลเซียส เป็นเวลา 8 ชั่วโมง ทำให้สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานที่เกิดจากขชั้นตอนการบดและอบไอน้ำรวมกันได้ถึงร้อยละ 65.54 ส าหรับการแทนที่ดินลูกรังด้วยเถ้าชานอ้อยในบล็อกประสาน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สํานักงาน การวิจัยแห่งชาติ (วช.)
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) |
th_TH |
dc.language.iso |
th_TH |
th_TH |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ราชบุรี, 2559 |
th_TH |
dc.subject |
ชานอ้อย |
th_TH |
dc.subject |
วัสดุก่อสร้าง |
th_TH |
dc.title |
โครงการการใช้ประโยชน์จากเถ้าชานอ้อยในงานวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง |
th_TH |
dc.type |
Research Report |
th_TH |