dc.contributor.advisor |
Chanpen Chanchao |
|
dc.contributor.advisor |
Orawan Duangphakdee |
|
dc.contributor.advisor |
Pawornrat Nonthapa |
|
dc.contributor.advisor |
อรวรรณ ดวงภักดี,ผศ.ดร. |
|
dc.date.accessioned |
2022-04-19T05:31:25Z |
|
dc.date.available |
2022-04-19T05:31:25Z |
|
dc.date.issued |
2013 |
|
dc.identifier.uri |
https://modps76.lib.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/1673 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/42664/1/5472190123.pdf |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 |
|
dc.subject |
Apis cerana |
|
dc.subject |
ผึ้งโพรง |
|
dc.title |
ผลต่อต้านเชื้อก่อโรคในผึ้งโดยแบคทีเรียในทางเดินอาหารของผึ้งโพรง Apis cerana |
|
dc.title.alternative |
Antagonistic effect against bee pathogens by gut bacteria in cavity nesting honeybee Apis cerana |
|
dc.type |
Research Report |
|
dc.description.summary |
นฟาร์มผึ้ง มักพบปัญหาเกี่ยวกับศัตรูและโรคในผึ้ง อันนำไปสู่การสูญเสียทางเศรษฐกิจในอุตสาหกรรมการเลี้ยงผึ้ง ยกตัวอย่างเช่น โรคตัวอ่อนเน่าอเมริกัน (AFB) ที่เกิดจากเชื้อ Paenibacillus larvae, โรคโนซีม่าเกิดจากเชื้อ Nosema ceranae และ N. apis, โรคแซคบรูด (SBV) เกิดจากเชื้อ sacbrood bee virus (SBV), และโรคชอล์คบรูดที่เกิดจากเชื้อ Ascosphaera apis ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้ทำการสำรวจการติดเชื้อ P. larvae, N. ceranae, N. apis, และ A. apis ในผึ้งโพรง 50 รังที่เก็บจากฟาร์มเลี้ยงผึ้ง 10 แหล่งในจังหวัดสมุทรสงครามและชุมพร ซึ่งอยู่ทางภาคกลางและภาคใต้ของประเทศไทย ทำการสกัดดีเอ็นเอจากตัวหนอน ดักแด้และตัวเต็มวัยผึ้ง จากนั้นทำการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอโดยวิธี multiplex PCR ซึ่งในแต่ละปฏิกิริยาประกอบด้วยไพรเมอร์สองคู่ (16S rRNA ของ P. larvae และ cytochrome b ของ A. cerana), ไพรเมอร์สามคู่ (16S rRNA ของ N. ceranae, N. apis และ RpS5 ของ A. mellifera), ไพรเมอร์สองคู่ (pol ของ SBV และ 28S rRNA ของ A. mellifera), และไพรเมอร์สองคู่ (5.8S rRNA ของ A. apis และ RpS5 ของ A. mellifera) |
|
dc.thesis.degreename |
Master of Science |
|
dc.thesis.degreelevel |
Master's Degree |
|
dc.thesis.degreediscipline |
Biotechnology |
|