Please use this identifier to cite or link to this item: https://rbkm.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/1647
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชัชวาล ตั้งวัฒนสุวรรณ
dc.contributor.authorวิชัย สังวรปทานสกุล
dc.contributor.authorพานิช วุฒิพฤกษ์
dc.date.accessioned2022-04-19T05:31:22Z
dc.date.available2022-04-19T05:31:22Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.urihttps://modps76.lib.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/1647
dc.descriptionเอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 8 เล่ม 2 ณ โรงแรมโซฟิเทล ราชาออคิด ขอนแก่น 23-25 ตุลาคม 2545 หน้า GTE:423-GTE:427
dc.subjectSandy soils
dc.subjectVetiver
dc.subjectหญ้าแฝก
dc.subjectดินปนทราย
dc.subjectKMUTT research reports
dc.titleการเสริมกำลังของดินทรายด้วยรากหญ้าแฝกดอน กลุ่มพันธ์ราชบุรี = Reinforcement sandy soil by ratchaburiroot vetiveria nemoralis a.camus
dc.typeARTICLES
dc.description.summaryการศึกษาคุณสมบัติด้านวิศวกรรมของดินทรายเสริมรากหญ้าแฝก กลุ่มพันธุ์ราชบุรี เพื่อการศึกษากำลังต้านทางแรงเฉือนโดยตรงของดินในสนาม และในห้องปฏิบัติการซึ่งเสริมกำลังด้วยรากหญ้าแฝก และไม่ได้เสริมกำลังด้วยรากหญ้าแฝก โดยพิจารณาจากอายุของการปลูกต่าง ๆ กัน และการศึกษากำลังรับแรงดึงของราก หญ้าแฝกซึ่งมีผลต่อการเพิ่มกำลังต้านทางแรงเฉือนของดิน โดยพิจารณาจากขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของราก และอายุของการปลูก จากผลการศึกษาพบว่าปริมาณรากหญ้าแฝกมีจำนวนเพิ่มตามอายุของการปลูกทั้งในสนาม และห้องปฏิบัติการ ค่าแรงดึงประลัยของรากจะแปรผันตามขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของรากดังสมการ t=1.3895d0965 ค่ากำลังรับแรงดึงของรากจะแปรผกผันกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของรากดังสมการ t=209.05d1.7741 ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นจะแปรผกผันกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของรากดังสมการ E=5187.6d-2.3448 และค่ากำลังต้านทางแรงเฉือนของดินที่เสริมด้วยรากหญ้าแฝกในสนามและในห้องปฏิบัติการจะสูงกว่าดินธรรมดาโดยอยู่ในช่วงร้อยละ 28.21 ถึง 102.34 และ 32.61 ถึง 1042.55 ตามลำดับ
Appears in Collections:Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.