Please use this identifier to cite or link to this item: https://rbkm.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/4027
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorSkye Go Around-
dc.date.accessioned2023-04-25T04:15:49Z-
dc.date.available2023-04-25T04:15:49Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://www.youtube.com/watch?v=zeA1FiQTMKY-
dc.identifier.urihttps://modps76.lib.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/4027-
dc.language.isoth_THth_TH
dc.subjectสะพานขึงรถไฟth_TH
dc.subjectสะพานขึงรถไฟแห่งแรกในไทยth_TH
dc.subjectราชบุรีth_TH
dc.subjectสะพานจุฬาลงกรณ์th_TH
dc.titleสะพานขึงรถไฟ’ แห่งแรกที่เดียวในไทย ข้ามแม่น้ำแม่กลอง จ.ราชบุรีth_TH
dc.typeVideoth_TH
dc.description.summaryสะพานขึงรถไฟ” แห่งแรกในไทย สร้างเสร็จแล้ว 100% ตั้งตระหง่านข้ามแม่น้ำแม่กลอง “ราชบุรี” คู่ขนานสะพานจุฬาลงกรณ์ ไฮไลต์รถไฟทางคู่สายใต้ เตรียมลุยวางราง ขณะที่งาน 5 สัญญาหมดอายุแล้ว อานิสงส์โควิด ได้ต่อสัญญาอีก 6 เดือน ขยับไทม์ไลน์เปิดบริการเป็นปี 67 รายงานข่าวจากการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) แจ้งว่า ขณะนี้สะพานขึงรถไฟ (Extradosed Bridge) แห่งแรก และมีความยาวที่สุดในประเทศไทย ได้เชื่อมต่อโครงสร้างสะพานรถไฟข้ามแม่น้ำแม่กลองเสร็จเรียบร้อย 100% อยู่ระหว่างเตรียมติดตั้งงานระบบการวางรางบนสะพาน ซึ่งเป็นทางเดี่ยว คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 6 เดือน สำหรับสะพานดังกล่าวถือเป็นไฮไลต์สำคัญของโครงการรถไฟทางคู่ สายใต้ ช่วงนครปฐม-ชุมพร ระยะทาง 421 กิโลเมตร (กม.) วงเงิน 3.39 หมื่นล้านบาท โดยงานก่อสร้างอยู่ในสัญญาที่ 1 นครปฐม-หนองปลาไหล เป็นสะพานขึงรถไฟ มีความยาวรวม 340 เมตร (ช่วงสะพานข้ามแม่น้ำแม่กลองยาว 160 เมตร) กว้าง 7.64 เมตร รายงานข่าวแจ้งต่อว่า สะพานขึงรถไฟข้ามแม่น้ำแม่กลอง ตั้งอยู่บริเวณ อ.เมือง จ.ราชบุรี คู่ขนานกับสะพานจุฬาลงกรณ์ ไม่มีเสาตอม่อกลางแม่น้ำ มีตอม่อแค่ 2 ฝั่งแม่น้ำ เป็นทางเดี่ยว โดยเป็นทางเดิน 1 เมตร และมีเสา Pylon สูง 17.5 เมตร อย่างไรก็ตาม สะพานแห่งนี้นอกจากจะเป็นประโยชน์ด้านการคมนาคมขนส่งแล้ว จะช่วยดึงดูดให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และต่างชาติเดินทางมาเที่ยวชม พร้อมศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ กลายเป็นแลนด์มาร์คแห่งใหม่ของเมืองราชบุรี และที่ท่องเที่ยวระดับนานาชาติต่อไปด้วยth_TH
Appears in Collections:เล่าเรื่องด้วยภาพ

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.