Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rbkm.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/3953
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พิสิฐพงษ์ อินทรพงษ์ | |
dc.contributor.author | ธิติมา วงษ์ชีรี | |
dc.contributor.author | ทองไส ช่วยชู | |
dc.contributor.author | อรณัท ปฐพีจำรัสวงศ์ | |
dc.date.accessioned | 2022-10-12T06:35:56Z | |
dc.date.available | 2022-10-12T06:35:56Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://modps76.lib.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/3953 | |
dc.description | ได้รับทุนอุดหนุนการทํากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมโครงการจัดการความรู้เพื่อการใช้ประโยชน์เชิงชุมชน สังคมภายใต้โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้การวิจัยเพื่อการใช้ประโยชน์ ประจําปี 2563 จาก สํานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) | th_TH |
dc.description.abstract | การถ่ายทอดนวัตกรรมเครื่องนวดผักกาดหัว จะช่วยลดภาระจากการขอดแคลนแรงงานและผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาวนวัตกรรมเครื่องนวดช่วยในการแปรรูปน้ําหนักผักกาดหัวจากการใช้เครื่องกวนลดลงได้มากกว่าน้ําหนักผักกาดหัวจากการใช้คนนวดอย่างน้อยร้อยละ 8 ที่ปริมาณสารปรุงแต่งเท่ากัน สภาะวะในการกวนโดยเครื่องนวดที่เหมาะสมคือ ความเร็วรอบในการกวน30 ถึง60 รอบต่อนาที เวลาในการนวดไม่เกิน 1 ชั่วโมง จะได้ค่าไชโป้วที่มีรสชาติและสัมผัสเทียบเคียงกับการแปรรูปดั้งเดิมได้ เช่น ค่าความเค็ม 130 กรัมต่อลิตร ค่าปริมาณน้ําอิสระ 0.8-0.9 ค่าของความสว่าง 63 และค่าความแข็งนุ่มของไชโป้ว85-100 นิวตัน เครื่องนวดสามารถเพิ่มการผลิตต่อวันได้อย่างน้อย 2 เท่าของการนวดด้วยมือ และยังคงรักษาอัตลักษณะทางด้านรสชาติ และสร้างความปลอดภัยต่อผู้บริโภคได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สํานักงาน การวิจัยแห่งชาติ (วช.) | th_TH |
dc.language.iso | th_TH | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ราชบุรี, 2563 | th_TH |
dc.subject | เครื่องนวดผักกาดหัว | th_TH |
dc.subject | ไชโป้ว | th_TH |
dc.subject | งานวิจัย | th_TH |
dc.title | การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการแปรรูป ผลิตภัณฑ์ไชโป้วตามมาตรฐานอาหารปลอดภัยและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้วยเครื่องนวดผักกาดหัว : กลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดราชบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Technology and innovation transfer in radish processing regarding food safety standards, as well as increasing production efficiency on radish massage machine in case of community enterprises in Ratchaburi province | th_TH |
dc.type | Research Report | th_TH |
Appears in Collections: | Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2563-การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการแปรรูป.pdf | 3.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.