Please use this identifier to cite or link to this item: https://rbkm.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/3808
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกัลย์ธีรา สุนทราภิรักษ์กุล-
dc.contributor.authorอรวรรณ ดวงภักดี-
dc.contributor.authorปรีชา รอดอิ่ม-
dc.contributor.authorมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี)-
dc.date.accessioned2022-04-26T08:52:48Z-
dc.date.available2022-04-26T08:52:48Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://modps76.lib.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/3808-
dc.description.abstractประเทศไทยมีความเหมาะสมทุกด้านในการเลี้ยงผึ้งเพื่อผลิตน้้าผึ้งเอกลักษณ์เฉพาะ เนื่องจากมีความหลากหลายของชนิดผึ้งพื้นเมือง ซึ่งมีถึง 4 ชนิด คือ ผึ้งโพรง (Apis cerana) ผึ้งหลวง (Apis dorsata) ผึ้งมิ้ม (Apis florea) และผึ้งมิ้มเล็ก (Apis andreniformis) โดยเฉพาะผึ้งมิ้มเป็นแมลงผสมเกสรที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถปรับตัวได้ดี มีโรคและศัตรูธรรมชาติน้อย รวมทั้งมีความหลากหลายของพรรณไม้ในป่าเขตร้อนและสมุนไพรพืชหอมที่ส่งผลให้ความหลากหลายของสารชีวภาพมีสูง สมุนไพรพืชหอมเป็นอาหารของผึ้งโดยเป็นแหล่งให้น้้าหวานและเกสร มีสรรพคุณทางยาในด้านการบ้ารุงหัวใจ บ้ารุงโลหิต แก้ท้องเสีย ปวดหัว เจ็บคอ ขับเสมหะ และมีกลิ่นหอมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะชนิด การวิจัยในเรื่องน้้าผึ้งดอกไม้สมุนไพรชนิดต่างๆมีรายงานก่อนหน้านี้ แต่ยังไม่มีรายงานการวิจัยของน้้าผึ้งดอกไม้สมุนไพรพืชหอม อันได้แก่ ดอกดาวกระจาย ดอกเสี้ยว ดอกพิกุล ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางเคมีกายภาพและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของน้้าผึ้งเอกลักษณ์เฉพาะจากดอกไม้สมุนไพรพืชหอมของไทย 3 ชนิด ได้แก่ น้้าผึ้งดอกดาวกระจาย น้้าผึ้งดอกเสี้ยว น้้าผึ้งดอกพิกุล ซึ่งจะเป็นการพัฒนาคุณค่าที่แตกต่างของน้้าผึ้งไทย ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ทั้งทางด้านรสชาติ กลิ่นและคุณค่าทางยาเพื่อให้เหมาะกับการบริโภคในฐานะอาหารเสริมสุขภาพ ผลการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่าน้้าผึ้งดอกไม้สมุนไพรจากดอกดาวกระจายมีปริมาณฟีโนลิก ฟลาโวนอยด์ กรดแอสคอร์บิก และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ (DPPH FRAP AEAC) สูงกว่าน้้าผึ้งจากดอกเสี้ยว และดอกพิกุล ตามล้าดับ เมื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติดังกล่าวของน้้าผึ้งดอกดาวกระจายกับน้้าผึ้งมานูก้า (นิวซีแลนด์) พบว่า น้้าผึ้งดอกดาวกระจายมีปริมาณฟีโนลิก ฟลาโวนอยด์ กรดแอสคอร์บิก และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ (DPPH FRAP AEAC) สูงกว่าน้้าผึ้งมานูก้า (นิวซีแลนด์) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าน้้าผึ้งดอกดาวกระจายของไทยมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระไม่แพ้น้้าผึ้งดอกมานูก้าที่มีชื่อเสียงจากต่างประเทศ-
dc.sourceสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)-
dc.subjectKmutt Research Report-
dc.subjectการเลี้ยงผึ้ง-
dc.subjectสมุนไพรพืชหอม-
dc.titleคุณสมบัติทางเคมีกายภาพและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของน้ำผึ้งเอกลักษณ์เฉพาะดอกไม้ชนิดเดียว (unique uniflora honey) จากสมุนไพรพืชหอม-
dc.typeResearch Report-
Appears in Collections:Research



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.