Please use this identifier to cite or link to this item: https://rbkm.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/1604
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวาสนา มานิช-
dc.contributor.authorWasana Manish
dc.date.accessioned2022-04-19T05:31:19Z-
dc.date.available2022-04-19T05:31:19Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.issn12004017-
dc.identifier.urihttps://modps76.lib.kmutt.ac.th/xmlui//handle/123456789/1604-
dc.descriptionวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 28, ฉบับที่ 3 (2551), หน้า 32-44
dc.subjectปุ๋ยหมัก
dc.subjectเทคโนโลยีที่เหมาะสม
dc.subjectKMUTT research reports
dc.titleเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักที่เหมาะสมกับชุมชนหุบมะกล่ำ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี-
dc.typeARTICLES-
dc.description.summaryการพัฒนางานวิจัยร่วมกับเกษตรกรด้านการผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่กลับกองแบบกองเติมอากาศจากผักตบชวาผสมมูลโคชุมชนหุบมะกล่ำ อ.โพธาราม จ.ราชบุรี ผลการวิจัยพบว่า การผลิตปุ๋ยหมักมีต้นทุนการผลิต 1.55 บาท/กิโลกรัม ระยะการหมักใช้เวลา 60 วัน (หมักได้ 6 ครั้ง/ปี) ปริมาณธาตุอาหารหลัก ธาตุไนโตเจน 2% ฟอสฟอรัส 1.88% และโพแทสเซียม 1.41% ความชื้น 44.92% อินทรีย์วัตถุ 17.06% ความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 7.2 อัตราส่วนธาตุคาร์บอนต่อไนโตรเจน 4.96 ความเค็มที่วัดค่าการนำไฟฟ้า เท่ากับ 2.1 dS/m และไม่พบสิ่งอื่นเจือปน เมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานคุณภาพปุ๋ยหมักของกรมพัฒนาที่ดินได้ 82 คะแนน (กำหนดไว้ต้องเกินกว่า 80) และมีปริมาณธาตุโลหะหนักน้อยกว่ามาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ของกรมวิชาการเกษตร สรุปได้ว่า ปุ๋ยหมักที่ได้เป็นปุ๋ยหมักคุณภาพดีตามเกณฑ์มาตรฐาน เหมาะสมต่อการนำไปใช้ในการปรับปรุงดินและมีส่วนช่วยลดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม
Appears in Collections:Research

Files in This Item:
File SizeFormat 
12004017.pdf3.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.